1.แผนที่หมู่บ้าน
2.
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
ปูโยะ มีหมายความว่า
ปลาชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปลาช่อนมีลายจุดดำตลอดทั้งตัว โดยที่ในภาษาไทยเรียกว่า ปลาช่อนงูเห่า
เป็นหมู่บ้านเก่าแก่มีการบอกเล่าขานจากบรรพบุรุษคนเถ้าคนแก่
เป็นหมู่บ้านที่น่ากลัวมีป่าพรุ
เป็นแหล่งป่าน้ำจืดที่อุดมสมบรูณ์ซึ่งเกิดขึ้นราว
๒๐๐ปี จากนั้นได้มีสามีภรรยาคู่หนึ่งชื่อ บ้านปูโยะ เป็นสามี
และนางโต๊ะเยาะ เป็นภรรยา ทั้งสองได้มาตั้งหลักครอบครัวอยู่ในป่าพรุแห่งนี้จนมีบุตรด้วยกัน
๕ คน เป็นชาย ๔ คน เป็นหญิง ๑ คน
ซึ่งเป็นต้นตระกูลของประชาชนในหมู่บ้านปูโยะในปัจจุบัน
3. พื้นที่ทั้งหมดไร่ พื้นที่ทั้งหมด ๕,๖๑๒ ไร่
๘.๙๘ ตารางกิโลเมตร
พิกัด GPS ละติจูด : ๖.๐๙๕๑๕๐ลองจิจูด:๑๐๒.๐๐๓๒๗๖
4. อาณาเขต
บ้านปูโยะหมู่ที่ ๒ ตั้งอยู่ในตำบลปูโยะอำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ห่างจากอำเภอสุไหงโก-ลกไปทางทิศเหนือ ๑๕ กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดนราธิวาส ไปทางทิศตะวันออก
๖๑กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่
๓ บ้านโต๊ะเวาะ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส
ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่
๑ บ้านลาแล ตำบลปูโยะ
อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลริโก๋
อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ ๑
บ้านลาแล ตำบลปูโยะ อำเภอ สุไหงโกลก
จังหวัดนราธิวาส
5.
ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ
มี
๒ ฤดู คือฤดูฝน และฤดูร้อน
- ฤดูฝนมี ๒ ระยะ คือ
ระยะรับลมามรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ในระหว่าวเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ของทุกปี
เป็นช่วงเกิดภาวะฝนฟ้าคะนอง และระยะรับลมมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือ ฝนจะตกชุกในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม
เป็นช่วงที่ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมในพื้นที่ราบลุ่มเป็นประจำทุกปี
-ฤดูร้อน อยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์
– เดือนเมษายน
ภูมิประเทศ
-
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีน้ำท่วมขังตลอดทั้งปี
ซึ่งมีคลองโต๊ะแดงไหลผ่านมีเนื้อที่
๘.๙๘ ตารางกิโลเมตรหรือ ๕,๖๑๒ ไร่
จำนวนครัวเรือน ๓๔๙
ครัวเรือนการประกอบอาชีพ
อาชีพหลักของครัวเรือน
- อาชีพเกษตรกรรม
จำนวน
๑๑๕ ครัวเรือน
- อาชีพค้าขาย
จำนวน ๑๕ครัวเรือน
- อาชีพทำงานประจำเอกชน
/ บริษัท / โรงงาน จำนวน ๘ ครัวเรือน
- อาชีพอื่นๆ จำนวน
๑๓๖ ครัวเรือน
อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง
- อาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า จำนวน๓ครัวเรือน
- อาชีพ
ทำขนมจำนวน๒ ครัวเรือน
ว่างงาน จำนวน
๓๖ คน แยกเป็น
-กลุ่มอายุ 13– 18 ปี จำนวน ๑๐
คน
-กลุ่มอายุ 19– 24 ปี จำนวน
๑๐ คน-
-กลุ่มอายุ 25 ปี ขึ้นไป
จำนวน
๑๖ คน
จำนวนกลุ่มกิจกรรม
/ อาชีพ
มีจำนวน ๔ กลุ่ม ดังนี้
๑
) กลุ่มเลี้ยงปลาดุก
๒
) กลุ่มปักจักร
๓) กลุ่มปลูกมะนาวบ่อซีเมนต์
๔
) กลุ่มเบเกอร์รี่
๕) กลุ่มเลี้ยงโคขุน
กองทุนในหมู่บ้าน มีจำนวน
๑ กองทุน
-ชื่อกองทุนหมู่บ้านมีงบประมาณ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ข้อมูลความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานของประชาชน
- ชื่อกิจกรรม/อาชีพช่างตัดผม จำนวน
๕คน
ข้อมูลคมนาคม/สาธารณูปโภค
-
การเดินทางเข้าหมู่บ้าน
จากอำเภอสุไหงโก-ลก
ใช้ทางหลวง (สายลาแล-ปูโยะ) ระยะ ๑๒ กิโลเมตร
จากสุไหงโก-ลกถึงบ้านปูโยะ
สาธารณูปโภค
- มีไฟฟ้าครบทุกครัวเรือน
- โทรศัพท์สาธารณะ
จำนวน - แห่ง
- ประปาหมู่บ้าน
จำนวน 1 แห่ง
- ศาลาประชาคม จำนวน
1 แห่ง
- ป้อมตำรวจ จำนวน 1 แห่ง
แหล่งน้ำ
แหล่งน้ำตามธรรมชาติ
- ลำห้วย
จำนวน. 1 แห่ง
- คลอง
จำนวน 1 แห่ง
- สระ
จำนวน 1 แห่ง
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นในหมู่บ้าน
- บ่อบาดาล จำนวน
1 แห่ง
6. ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านตาม จปฐ. และ
กชช.2ค.
สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน
ปี 256๓ ระดับหมู่บ้าน
หมู่ที่๒บ้านปูโยะตำบลปูโยะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ภาคใต้
ประเทศไทย
ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน |
จำนวนที่สำรวจ |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
||
หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชี้วัด |
|||||
1. เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500
กรัม ขึ้นไป |
0 คน |
0 คน |
0.00 |
0 คน |
0.00 |
2.
เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน |
0 คน |
0 คน |
0.00 |
0 คน |
0.00 |
3. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค |
244 คน |
244 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
4. ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ
ปลอดภัย และได้มาตรฐาน |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด
บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี |
507 คน |
507 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ
ละ 30 นาที |
1,126 คน |
1,126 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตัวชี้วัด |
|||||
8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย
และบ้านมีสภาพคงทนถาวร |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
9.
ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปีอย่างน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
10.
ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
11.
ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและถูกสุขลักษณะ |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
13.
ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอย่างถูกวิธี |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
14.
ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด |
|||||
15. เด็กอายุ 3 - 5 ปี
ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน |
65 คน |
65 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
16. เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี |
229 คน |
228 คน |
99.56 |
1 คน |
0.44 |
17. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า |
15 คน |
15 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
18.
คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ
ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ |
8 คน |
8 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
19. คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ |
779 คน |
779 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
20. คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชีพและรายได้ |
626 คน |
626 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
21. คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้ |
118 คน |
115 คน |
97.46 |
3 คน |
2.54 |
22.
รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนต่อปี |
315คร. |
310คร. |
98.41 |
5คร. |
1.59 |
23. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน |
315คร. |
314คร. |
99.68 |
1คร. |
0.32 |
หมวดที่ ๔ ค่านิยม มี
8 ตัวชี้วัด |
|||||
24. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา |
1,191 คน |
1,191 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
25. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ |
1,191 คน |
1,037 คน |
87.07 |
154 คน |
12.93 |
26. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง |
1,126 คน |
1,126 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
27. ผู้สูงอายุ
ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน |
118 คน |
118 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
28. ผู้พิการ
ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน |
9 คน |
9 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
29. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลจากครอบครัว
ชุมชน ภาครัฐหรือภาคเอกชน |
1 คน |
1 คน |
100.00 |
0 คน |
0.00 |
30.
ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน หรือท้องถิ่น |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
31. ครอบครัวมีความอบอุ่น |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
30.
ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน หรือท้องถิ่น |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
31. ครอบครัวมีความอบอุ่น |
315คร. |
315คร. |
100.00 |
0คร. |
0.00 |
สรุปผลสภาพปัญหาของหมู่บ้าน
กชช. 2ค. ปี 256๓
หมู่ที่ ๒ บ้านปูโยะ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
ตัวชี้วัด |
คะแนน |
โครงสร้างพื้นฐาน |
|
(1) ถนน |
2 |
(2) น้ำดื่ม |
3 |
(3) น้ำใช้ |
3 |
(4) น้ำเพื่อการเกษตร |
2 |
(5) ไฟฟ้า |
3 |
(6) การมีที่ดินทำกิน |
3 |
(7) การติดต่อสื่อสาร |
2 |
สภาพพื้นฐานฐานทางเศรษฐกิจ |
|
(8) การมีงานทำ |
2 |
(9) การทำงานในสถานประกอบการ |
0 |
(10) ผลผลิตจากการทำนา |
0 |
(11) ผลผลิตจากการทำไร่ |
0 |
(12) ผลผลิตจากการทำการเกษตรอื่นๆ |
3 |
(13)
การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน |
0 |
(14)
การได้รับประโยชน์จากการมีสถานที่ท่องเที่ยว |
0 |
ด้านสุขภาวะและอนามัย |
|
(15) ความปลอดภัยในการทำงาน |
3 |
(16) การป้องกันโรคติดต่อ |
2 |
(17) การกีฬา |
3 |
ด้านความรู้และการศึกษา |
|
(18) ระดับการศึกษาของประชาชน |
3 |
(19) อัตราการเรียนต่อของประชาชน |
2 |
(20) การได้รับการศึกษา |
1 |
ด้านการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน |
|
(21) การมีส่วนร่วมของชุมชน |
1 |
(22) การรวมกลุ่มของชุมชน |
1 |
(23) การเข้าถึงแหล่งเงินทุน |
1 |
(24) การเรียนรู้โดยชุมชน |
3 |
(25)
การได้รับความคุ้มครองทางสังคม |
3 |
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
|
(26) คุณภาพดิน |
3 |
(27) การใช้ประโยชน์ที่ดิน |
2 |
(28) คุณภาพน้ำ |
1 |
(29) การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น |
0 |
(30) การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อม |
2 |
ด้านความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ |
|
(31) ความปลอดภัยจากยาเสพติด |
2 |
(32) ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ |
3 |
(33)
ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน |
2 |
สรุปสภาพปัญหาของหมู่บ้าน
(1) มีปัญหามาก5ข้อ
(2) มีปัญหาปานกลาง10ข้อ
(3) มีปัญหาน้อย12ข้อ
หมู่บ้าน/ชุมชนนี้ จัดเป็น
หมู่บ้าน/ชุมชนเร่งรัดพัฒนาอันดับ 3
(อันดับ 1 ได้ 1 คะแนน 11-33 ตัวชี้วัด)
(อันดับ 2 ได้ 1 คะแนน 6-10 ตัวชี้วัด)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น